ลักษณะและที่ตั้งโครงการ
งานจ้างสำรวจ ออกแบบ โครงการอ่างเก็บน้ำน้ำงาว (แม่งาว) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดลำปาง มีลักษณะการก่อสร้างเขื่อนดินแบ่งส่วน (Zoned Earth Dam) ปิดกั้นแม่น้ำงาวและห้วยแม่หยวก ในเขตตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปาง แม่น้ำงาวไหลจากพื้นที่ต้นน้ำด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ไปทิศตะวันออกเฉียงใต้จนถึงบริเวณหัวงานเขื่อนน้ำงาว รวมความยาวลำน้ำจากต้นน้ำจนถึงบริเวณหัวงานเขื่อนประมาณ 43 กม. โดยบริเวณตำแหน่งที่ตั้งหัวงานเขื่อนอยู่ด้านท้ายน้ำของจุดบรรจบห้วยแม่หยวกกับน้ำแม่งาวประมาณ 500 ม. จากนั้นแม่น้ำงาวไหลจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้ลงสู่แม่น้ำยม ในเขตอำเภอสอง จังหวัดแพร่ แม่น้ำงาวมีความยาวประมาณ 112 กม. ที่ตั้งโครงการดังแสดงในรูปที่ 1.3-1 และมีรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบตามขอบเขตการดำเนินงาน (TOR) ดังต่อไปนี้
1 ) ที่ตั้งหัวงานโครงการ
พิกัด 2,090,258 N 597,902 E ระวาง 4946 ตามแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 หมู่ที่ 4 บ้านข่อย และหมู่ที่ 9 บ้านท่าเจริญ ตำบลบ้านร้องอำเภองาว จังหวัดลำปาง
2) อุทกวิทยา
พื้นที่รับน้ำฝน | 251.47 | ตร.กม. |
ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยปีละ | 53.66 | ล้าน ลบ.ม. |
ปริมาณน้ำหลากออกแบบในรอบ 500 ปี | 515.55 | ลบ.ม./วินาที | ปริมาณน้ำหลากออกแบบตรวจสอบในรอบ 1,000 ปี | 575.01 | ลบ.ม./วินาที |
3) อ่างเก็บน้ำ
ระดับน้ำสูงสุด | +377.00 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับน้ำกักเก็บ | +376.00 | ม.ร.ท.ก.. |
ระดับน้ำต่ำสุด | +350.00 | ม.ร.ท.ก. |
ความจุที่ระดับน้ำสูงสุด | 15.11 | ล้าน ลบ.ม |
ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ | 13.00 | ล้าน ลบ.ม. |
ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด | 0.10 | ล้าน ลบ.ม. |
ความจุใช้การ | 12.90 | ล้าน ลบ.ม. |
พื้นที่น้ำท่วมที่ระดับน้ำสูงสุด | 730.19 | ไร่ |
พื้นที่น้ำท่วมที่ระดับเก็บกักปกติ | 626.39 | ไร่ |
พื้นที่น้ำท่วมที่ระดับเก็บกักต่ำสุด | 46.60 | ไร่ |

4) เขื่อนหลัก
ประเภทเขื่อน | เขื่อนดินแบ่งส่วน | Zoned Earth Dam |
ระดับสันเขื่อน | +381.00 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับทองน้ำ | +345.50 | เมตร |
ความสูง | 35.50 | เมตร |
ความยาวสันเขื่อน | 360.00 | เมตร |
ความกว้างสันเขื่อน | 10.00 | เมตร |

5) เขื่อนปิดช่องเขาต่ำ
ประเภทเขื่อน | เขื่อนดินแบ่งส่วน | Zoned Earth Dam |
ระดับสันเขื่อน | +381.00 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับท้องน้ำ | +359.00 | ม.ร.ท.ก. |
ความสูง | 22.00 | ม. |
ความยาวสันเขื่อน | 505.00 | ม. |
ความกว้างสันเขื่อน | 8.00 | ม. |
6) อาคารทางระบายน้ำล้น
ประเภท | ฝายสันมน (Ogee) | รูปเกือกม้า |
ระดับสันฝาย | +376.00 | ม.ร.ท.ก. |
ความยาวสันฝาย | 80.00 | ม. |
ระบายน้ำหลากสูงสุดออกแบบในรอบ 500 ปี | 515.55 | ลบ.ม./วินาที |
7) อาคารท่อส่งน้ำลงลำน้ำเดิม
ชนิดท่อเหล็กรับแรงดันหุ้มคอนกรีตเสริมเหล็ก | ||
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน | 2.00 | ม. |
8) อาคารท่อส่งน้ำชลประทาน
ชนิดท่อเหล็กความยาว | 2.43 | กม. |
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน | 0.30 | ม. |

9) ปตร.ทุ่งปัน
ที่ตั้งหัวงานโครงการ | ท้ายฝ่ายทุ่งปัน | |
พื้นที่รับน้ำฝน | 342.23 | ตร.กม. |
อัตราการระบายน้ำหลากสูงสุดในรอบ 100 ปี | 314.691 | ลบ.ม./วินาที |
รูปแบบอาคาร | ประตูระบายน้ำบานโค้ง | |
ขนาด ช่อง-กxย | 4-6.00 x 5.50 | ม. |
ระดับน้ำด้านเหนือน้ำ | +294.250 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับน้ำด้านท้ายน้ำ | +293.643 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับธรณีบานระบาย | +289.050 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับพื้นด้านเหนือน้ำ | +288.550 | ม.ร.ท.ก. |
ระดับพื้นด้านท้ายน้ำ | +288.050 | ม.ร.ท.ก. |
10) ปตร.ทุ่งปัน
ฤดูฝน | 8,477 | ไร่ |
ฤดูแล้ง | 7,724 | ไร่ |